1. สารใดมีรูปร่างโมเลกุล ไม่ เหมือนกัน
2. สารในข้อใด เป็นโมเลกุลมีขั้ว แต่ ไม่มี พันธะไฮโดรเจน
ก. HF ข. NH3
กำหนด พลังงานพันธะ(kJ/mol) C-C = 348 C=C = 614 C-H =413 C-Cl = 339 Cl-Cl = 242
C=O = 745 C-O = 358 O-H = 463 O=O = 498
3. ถ้าไซโคลเฮกซีน(C6H10) เกิดปฏิกิริยาการรวมตัวกับคลอรีนจะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานกี่กิโลจูลต่อโมล
ก. 170 ข. 340 ค. 412 ง. 242
ก. ดูดพลังงาน 1.52 kJ ข. คายพลังงาน 1,525 kJ
ค. ดูดพลังงาน 1,883 kJ ง. คายพลังงาน 1,883 kJ
5. กำหนดให้ ธาตุ A มีพลังงานไอออไนเซชันตั้งแต่ ลำดับที่ 1 ถึง 8 ดังนี้ 1.320,3.395, 5.307, 7.476, 10.996, 13.333, 71.343 และ 84.086
1. สูตรทั่วไปของสารประกอบ AB คือ A2B3
2. สารประกอบ AB เมื่อละลายในน้ำแล้วเปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้ำเงิน แต่ไม่เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากน้ำเงินเป็นแดง
3. สารประกอบ AB มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง
4. สารประกอบ AB ยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์และมีลักษณะเป็นของเหลว
ข้อใดถูก
สาร | พลังงานไฮเดรชัน | พลังงานแลตทิซ |
A | 745 | 750 |
B | 590 | 550 |
C | 690 | 700 |
7. กำหนดให้ พลังงานแลตทิชของ NaCl = 787 kJ/mol พลังงานไอออไนเซชั่นของ Na(g) = 494 kJ/mol
8. 38Sr ทำปฎิกิริยากับ 16S สารประกอบที่ได้ควรมีสูตรอย่างไร
ก. SrS3 ข. Sr2S3 ค. SrS ง. Sr3S3
11. ข้อความใดต่อไปนี้ ไม่ ถูกต้อง
12. อะตอมที่ให้หรือรับอิเล็คตรอน จะเกิดเป็นพันธะใด
ค. พันธะไอออนิก, พันธะโคเวเลนต์, พันธะโลหะ
ก. สารประกอบไอออนิกมักเกิดระหว่างธาตุที่มีพลังงานไอออไนเชชันต่ำกับธาตุที่มีค่าENสูง
ข. เมื่อหลอมเหลวสารประกอบไอออนิกจะเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ค. การเกิดสารประกอบไอออนิกเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ง. สารประกอบไอออนิกยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงทางไฟฟ้า
ก. แรงแวนเดอร์วาลส์
ก. ผลึกโซเดียมคลอไรด์ละลายน้ำ สารละลายที่ได้จะมีจุดเยือกเเข็งลดลง
ข. โซเดียมคลอไรด์ที่หลอมเหลวนำไฟฟ้าได้
ค. โซเดียมคลอไรด์ละลายน้ำเเล้วคายพลังงาน
ง. โซเดียมคลอไรด์ละลายน้ำนำไฟฟ้าได้
ก. สามเหลี่ยมแบนราบ และพีระมิดฐานสามเหลี่ยม
ค. ทรงสี่หน้า และสามเหลี่ยมแบนราบ
19. มุมระหว่างพันธะในโมเลกุลโคเวเลนต์เรียงตามลำดับจากมากไปน้อยดังข้อใด
ค. BF3 > CS2 > Cl2O > CH4
20. ข้อใดเป็นโมเลกุล ไม่มีขั้ว
ค. BCl3, NCl3 และ CCl4 ง. HCN, NCl3 และ CO2
ก. เกิดจากอโลหะใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน
ข. เกิดจากโลหะใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน
ค. เกิดจากโลหะเสียอิเล็กตรอนให้กับอโลหะ
ง. เกิดจากอโลหะเสียอิเล็กตรอนให้กับโลหะ
6. ข้อใดสรุปถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานพันธะในโมเลกุลที่มี C สร้างพันธะกัน
ก. พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ > พันธะสาม
ข. พันธะเดี่ยว < พันธะคู่ < พันธะสาม
ค. พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ < พันธะสาม
ง. พันธะเดี่ยว = พันธะคู่ = พันธะสาม
7. สมบัติของโลหะในข้อใดอธิบายการตีเป็นแผ่นของโลหะได้ดีที่สุด
ก. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก
ข. โลหะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ
ค. อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้
ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะสามารถเลื่อนไถลได้
เฉลย
1. ค. 2. ค. 3. ง. 4. ก. 5. ก. 6. ข. 7. ง.
ง. ธาตุโลหะให้อิเล็กตรอนแก่ธาตุอโลหะ
2. สารประกอบชนิดหนึ่ง ประกอบด้วย ซัลเฟอร์(S) 1 อะตอม ฟลูออรีน(F) 6 อะตอม เขียนสูตรโมเลกุลอย่างไร
ก. S6F1 ข. S1F6 ค. SF6 ง. S6 F
3. จงอ่านชื่อสารประกอบ H2O
ก. ไดไฮโดรเจนไตรออกไซด์ ข. ไดไฮโดรเจนออกไซด์
ค. ไตรไฮโดรเจนออกไซด์ ง. ไดไฮโดรเจนมอนออกไซด์
4. สารประกอบที่เกิดจากพันธะไอออนิก เรียกว่า
ก. สารประกอบไอออนิก ข. สารโคเวเลนต์
ค. สารโลหะ ง. สารโครงผลึกร่างตาข่าย
5. ข้อใดกล่าวถึงพันธะโคเวเลนต์ได้ถูกต้อง
ก. เกิดจากอโลหะใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน
ข. เกิดจากโลหะใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน
ค. เกิดจากโลหะเสียอิเล็กตรอนให้กับอโลหะ
ง. เกิดจากอโลหะเสียอิเล็กตรอนให้กับโลหะ
6. ข้อใดสรุปถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานพันธะในโมเลกุลที่มี C สร้างพันธะกัน
ก. พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ > พันธะสาม
ข. พันธะเดี่ยว < พันธะคู่ < พันธะสาม
ค. พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ < พันธะสาม
ง. พันธะเดี่ยว = พันธะคู่ = พันธะสาม
7. สมบัติของโลหะในข้อใดอธิบายการตีเป็นแผ่นของโลหะได้ดีที่สุด
ก. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก
ข. โลหะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ
ค. อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้
ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะสามารถเลื่อนไถลได้
เฉลย
1. ค. 2. ค. 3. ง. 4. ก. 5. ก. 6. ข. 7. ง.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น